ปรัชญา ศาสนา และจริยธรรม

ความรู้ คือ คุณธรรม เพราะสิ่งมีชีวิตทั้งหมดมีจุดมุ่งหมายเพื่อการรับรู้ที่ดีของพวกเขา ดังนั้น ถ้าคนไม่รู้ว่าอะไรดี เขาจะไม่สามารถทำสิ่งที่ดีได้ เพราะเขาจะเล็งไปสู่เป้าหมายที่ผิด แต่ถ้าคนรู้ว่าอะไรดี เขาจะทำในสิ่งที่ดี เพราะเขาจะตั้งเป้าหมายว่าอะไรดี
 

โสคราตีส 

โลกทัศน์เชิงปรัชญา

ทรรศนะหนึ่งเกี่ยวกับ...ปรัชญา-มนุษย์-โลก

อ่านต่อ

เหตุเริ่มต้นของปรัชญา

อ่านต่อ

มนุษย์-ประวัติศาสตร์

อ่านต่อ

โลก-มนุษย์

อ่านต่อ

ความเป็นอิสระของคนที่คิดอย่างปราชญ์

อ่านต่อ

กิจกรรมของปรัชญา

อ่านต่อ

ทำไมเราควรศึกษาปรัชญา

อ่านต่อ

วิธีอ่านบทความทางปรัชญา

อ่านต่อ

รวมบทความและรายงานพิเศษ “ศาสนาและปรัชญา”

คำนำจากบรรณาธิการ

รวมบทความและรายงานพิเศษฉบับนี้ พัฒนามาจากดำริของหัวหน้าภาควิชามนุษยศาสตร์ รองศาสตราจารย์ ดร. สุภัทร ปัญญาทีป โดยมีวัตถุประสงค์เป็นสื่อกลางให้แก่คณาจารย์ และนักศึกษาเผยแพร่ผลงานทางวิชาการในสาขามนุษยศาสตร์

อ่านต่อ

พิพิธภัณฑ์ศาสนาโลก 

แนวคิดในการก่อตั้งพิพิธภัณฑ์ศาสนาโลก จึงเกิดขึ้นด้วยความมุ่งหวังให้ศาสนิก ได้เรียนรู้วิธีการที่จะมีปฏิสัมพันธ์ต่อกัน รวมทั้งมีความเข้าใจเกี่ยวกับศาสนาของคนอื่น

อ่านต่อ

ประชุมปฏิบัติการเรื่องศาสนา และความรุนแรง ประชุมปฏิบัติการเรื่องศาสนาและความรุนแรง 

สืบเนื่องจากความกังวลเกี่ยวกับสถานการณ์ความรุนแรงที่เกิดขึ้นในส่วนต่าง ๆ ของโลก ผู้เข้าร่วมเสวนาจากศาสนาต่าง ๆ ตระหนักว่าศาสนาของตนต่างก็ได้เสนอหลักคำสอนและวิธีปฏิบัติ ที่สามารถทำให้เกิดความยุติธรรม และการอยู่ร่วมกันอย่างสันติในโลก แต่เนื่องจาก

อ่านต่อ

แนวคิดทางจริยศาสตร์ของเฮเกล 

การเป็นคนดีในทัศนะของเฮเกล คือการที่มนุษย์สามารถเป็นผู้กำหนดเป้าหมาย และทำให้บรรลุเป้าหมายอย่างมีเอกภาพ ซึ่งแสดงออกถึงเสรีภาพของมนุษย์

อ่านต่อ

พุทธศาสนากับสังคมไทย : ข้อพิจารณาว่าด้วยการปฏิรูปพระพุทธศาสนาจากอดีตจนถึงปัจจุบัน 

การปฏิรูปพระพุทธศาสนาที่ดำเนินไปในขณะปัจจุบัน ถกเถียงกันมากในเรื่อง “สมมุติ” แต่เรื่องที่เป็น “แก่นสาร” ไม่ได้รับการวิพากษ์ถกเถียงแม้แต่น้อย

อ่านต่อ

ประวัติการรับนับถือศาสนาอิสลามของชนชาติปาทาน 

ชนชาติปาทานได้กลายเป็นชนชาติล่าสุดในโลกมุสลิม ที่เป็นหนึ่งในตัวเอกของเหตุการณ์ที่กำลังจะกลายเป็นประวัติศาสตร์ เมื่อพวกเขาได้รับผลของความรุนแรง อันเกิดจาก

อ่านต่อ

พุทธจริยศาสตร์กับแนวคิดเรื่องสงครามที่เป็นธรรม 

ด้วยเหตุที่ว่า ดูจะมีความขัดแย้งระหว่างคำสอนในศาสนาพุทธ และการนำหลักคำสอนของพระพุทธศาสนา มาใช้เพื่อสร้างความชอบธรรมให้แก่การทำสงคราม

อ่านต่อ

การทำวิจัยเชิงจริยศาสตร์ศึกษา 

ปัญหาสำคัญก็คือว่ามีการวิจัยหลายเล่มที่ปรากฏอยู่ในรูปของ “หัวมงกุฎ ท้ายมังกร” กล่าวคือ ผู้ที่มีความรู้ทางปรัชญาก็ไม่ยอมรับอย่างเต็มปากว่า วิทยานิพนธ์ที่นักศึกษาทำเป็นงานทางปรัชญา

อ่านต่อ

ข้อเขียนเชิงปรัชญา จริยศาสตร์ และจริยธรรม

 

จริยศาสตร์คืออะไร?

เรียนจริยศาสตร์ไปทำไม?

จุดมุ่งหมายสูงสุดของชีวิตในทางจริยศาสตร์คืออะไร?

คุณค่าของชีวิต และการแสวงหาความสุข

ความรู้เกี่ยวกับจริยธรรม

ความขัดแย้งทางจริยธรรม

จริยธรรมในวิชาชีพ

จริยธรรมตำรวจ

จริยธรรรมในการทำงาน (ทหาร)

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณของทหารอาชีพ

จริยธรรมวิชาชีพแพทย์

ทฤษฎีสงครามที่เป็นธรรม (Just War Theory)

ลัทธิต่อต้านสงคราม : สันตินิยม (Pacifism)

ทฤษฎีประโยชน์นิยมกับสงครามที่เป็นธรรม

บทวาม "สงครามที่เป็นธรรม" [วารสารเสนาธิปัตย์]

โลกทัศน์ของเพลโต

ทรรศนะของอริสโตเติ้ลเรื่องจริยศาสตร์คุณธรรม

การบูรณาการปรัชญากรีกกับศาสนาคริสเตียน

นักบุญอไควนัสกับการนำปรัชญาของอริสโตเติ้ลมาพิสูจน์การมีอยู่ของพระเจ้า

การแต่งกายเปิดเผยและนักสตรีนิยม

โสเภณีถูกกฎหมาย วัฒนธรรมทางเพศ และกรอบแนวคิดเพื่อการพิจารณา

MQ คืออะไร ?

“สร้าง / ไม่สร้าง” โรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์

จริยศาสตร์ชีวภาพ

 

จริยศาสตร์ชีวภาพ (Bioethics) คืออะไร ?

การตรวจหาสภาวะการติดเชื้อเอ็ชไอวีในผู้ป่วยควรทำหรือไม่

การโคลนมนุษย์ : ปัญหากฎหมาย และจริยธรรม

วิทยาการล้ำเส้นจริยธรรม

มนุษย์กำหนดธรรมชาติแห่งชีวิต บุญ หรือ บาป ?

เทคโนโลยีจีโนมอหังการของมนุษย์ ตอนที่ 1

เทคโนโลยีจีโนมอหังการของมนุษย์ ตอนที่ 2

การถอดรหัสพันธุกรรมมนุษย์ข้ามชาติ: ปฏิบัติการนี้เพื่อใคร ?

ข้อมูลพันธุกรรมกับผลกระทบต่อสิทธิในความเป็นส่วนตัว

การประชุมระดับชาติ ว่าด้วยชีวจริยธรรมและพันธุกรรมมนุษย์

ความหวัง ความกลัว และพันธุศาสตร์ : การตอบสนองของกระบวนการยุติธรรมต่อเทคโนโลยีชีวภาพ

เทคโนโลยีการเจริญพันธ์ุกับการคัดเลือกพันธุกรรมมนุษย์

ปัญหาเชิงจริยธรรมและสังคมเกี่ยวกับการตรวจพันธุกรรม

พันธุกรรมมนุษย์กับคุณภาพคน

ผลกระทบด้านจริยธรรมของการศึกษาวิจัย STEM CELL

การุณยฆาต : ฆ่าด้วยความกรุณา

ปัญหากฎหมายเกี่ยวกับการตายโดยสงบ

การุณยฆาตกับ ร่าง พรบ.ปฏิรูปสุขภาพ

สรุปข้อมูลและสถานภาพด้านชีวจริยธรรม

บทความ "ศาสนา"

การเสวนาทางศาสนา:เอกภาพท่ามกลางความแตกต่าง

การเสวนาทางศาสนาแต่ละครั้งอาจจะมิใช่ข้อยุติสุดท้าย และไม่อาจสามารถคาดหวังถึงผลสำเร็จที่จะเกิดได้ทั้งหมด...

อ่านต่อ

ศาสนาอิสลามสอนอะไร

ศาสนาอิสลามนี้มีความดีเป็นพื้นฐาน สมควรที่จะสนับสนุน เพราะว่าศาสนาอิสลามสอนให้ทุกคนเป็นพลเมืองดี ทุกคนมีความเข้มแข็ง มีวินัย และมีความปรารถนาดีต่อกัน นี้เป็นหลักที่สำคัญ

อ่านต่อ

คุณค่าของชีวิต และการแสวงหาความสุขตามคำสอนของศาสนา

การแสวงหาความสุข และคุณค่าของชีวิตตามคำสอนศาสนา สามารถสรุปได้ความหมายของ “ความสุข” ที่ต่างกัน

อ่านต่อ

การประชุมประวัติศาสตร์ศาสนาที่โตเกียว

ข้อสรุปจากที่ประชุมเกี่ยวกับประเด็นนี้บ่งชี้ว่า วิกฤตการณ์ของโลกในปัจจุบันอาจมองได้อย่างน้อยจากสองทรรศนะด้วยกันคือ วิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจการเมืองของโลก และสิ่งที่เรียกว่า "การปะทะทางอารยธรรม" 

อ่านต่อ

สันติภาพ ‘มินดาเนา' บทเรียนปัญหาชายแดนใต้ (ตอนที่ 1)

ภาษา ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรมฟิลิปปินส์ เป็นต้น จะเป็นตัวกำหนดที่สำคัญ หากปัจจัยต่าง ๆ ทางสังคมกำหนดเงื่อนไขให้มุสลิมมีความรู้สึกว่า ตนเองเป็นส่วนหนึ่งของสังคมฟิลิปปินส์แล้ว ปัญหาก็จะได้รับการแก้ไขในที่สุด

อ่านต่อ

เชงเม้ง : การบูชาบรรพบุรุษของชาวจีน

ขงจื้อกล่าวว่า “ในการเกี่ยวข้องกับคนตาย ถ้าเราปฏิบัติต่อผู้ตายเหมือนกับว่าเขาได้ตายไปจริงๆ นั่นก็เท่ากับว่าเราขาดความรักความผูกพันไปซึ่งเป็นการไม่สมควร..."

อ่านต่อ

สงครามวัฒนธรรม

สงครามวัฒนธรรม ได้กลายเป็นแนวคิดที่ชาวอเมริกันจำนวนมากใช้ทำความเข้าใจสิ่งที่กำลังเกิดขึ้นกับประเทศของตนเอง และอาจจะเป็นกรอบแนวคิดที่เป็นประโยชน์สำหรับผู้ที่ต้องการทำความเข้าใจวัฒนธรรมอเมริกัน

อ่านต่อ

สานเสวนาเป็นสันติวิธีได้หรือไม่

สืบเนื่องมาจากสถานการณ์ความขัดแย้งและความรุนแรงที่ปรากฏในหลายส่วนของโลก รวมทั้งเหตุการณ์ความรุนแรงและความสูญเสียที่เกิดขึ้นประจำวันในจังหวัดชายแดนภาคใต้ 

อ่านต่อ

คนกับศาสนา:ใครสร้างใคร?

ในสมัยโบราณเมื่อเกิดภัยธรรมชาติขึ้นมา มนุษย์มีความเกรงกลัวและนึกคิดเอาเองว่า ภัยธรรมชาติเหล่านั้นเกิดจากอำนาจดลบันดาลของเทพเจ้าประจำธรรมชาติต่างๆ มนุษย์จึงกราบไหว้อ้อนวอนประจบเอาใจเทพเจ้าเหล่านั้น

อ่านต่อ

ศาสนากับเงื่อนไขทางประวัติศาสตร์

แม้อาณาจักรโรมันจะเป็นผู้ประหารชีวิตพระเยซู แต่พระจักรพรรดิแห่งกรุงโรมองค์ต่อๆ มาก็ได้หันมายอมรับนับถือศาสนาคริสต์ ทำให้ศาสนาคริสต์แผ่กระจายไปทั่วทั้งยุโรปและตะวันออกกลาง

อ่านต่อ

ศาสนากับสังคมการเมืองในมาเลเซีย

ภายใต้การนำของมหาธีร์ โมฮัมหมัด นายกรัฐมนตรีคนที่สี่ โรงเรียนสอนศาสนาอิสลามถูกเพิกถอนเงินอุดหนุนจากรัฐบาล เพื่อให้นักเรียนจำนวนกว่า 126,000 คน กลับเข้าสู่ระบบการศึกษาตามปกติของรัฐ โรงเรียนเหล่านี้ถูกมองว่าเป็นแหล่ง "ล้างสมอง" (ตามคำพูดของมหาธีร์เอง) ที่บิดเบือนคำสอนทางศาสนาเพื่อผลทางการเมือง ทำให้เด็กมุสลิมกลายเป็นคนนิยมความรุนแรง

อ่านต่อ

ขบวนการ “อหิงสา” ของมหาตมะ คานธี

หลักสำคัญที่คานธีถือ ปฏิบัติในเรื่อง "อหิงสา" ก็คือ การยอมทนทุกข์เพื่อชำระจิตใจของตัวเองและเปลี่ยนจิตใจของผู้ที่ทำผิด คานธีได้อดอาหารนับจำนวนครั้งไม่ถ้วนในชีวิต เมื่อเห็นผู้ร่วมงานใช้วิธีการรุนแรงหรือกระทำผิด ด้วยความเสียสละและการยอมทนทุกข์ของคานธี ผู้กระทำผิดได้สำนึกกลับตัวเสียใหม่

อ่านต่อ

การเมืองใหม่ : รัฐบาลในอุดมคติของคานธี

ท่านยังต้องการให้ประชาชนไม่ทำตัว "เหมือนกับแกะ" ให้ประชาชนมีส่วนร่วมอย่างสร้างสรรค์ในการกำหนดรูปแบบของรัฐบาลตาม "ความสามารถพิเศษ" ของประชาชน การปกครองตนเองควรเป็น "อำนาจอธิปไตยของปวงชนบนพื้นฐานแห่งอำนาจทางจริยธรรมที่บริสุทธิ์"

อ่านต่อ

ศาสนาพลเมือง : สุนทรพจน์ของประธานาธิบดีโอบามา

เรายังเป็นประเทศที่เยาว์วัย แต่ดังที่พระคัมภีร์ได้กล่าวไว้ เวลาได้มาถึงแล้วที่จะทิ้งสิ่งไร้เดียงสา เวลาได้มาถึงแล้วที่จะตอกย้ำจิตใจที่มุ่งมั่น เลือกประวัติศาสตร์ที่ดีกว่าของเรา นำของขวัญอันล้ำค่าออกมา นั่นคือความคิดที่ดีงามจากคนรุ่นหนึ่งสู่คนอีกรุ่นหนึ่ง คำมั่นสัญญาที่พระผู้เป็นเจ้าได้มอบให้ ว่าทุกคนเสมอภาค ทุกคนมีอิสระเสรี และทุกคนสมควรได้รับโอกาสที่จะแสวงหาแนวทางแห่งความสุขอย่างเต็มที่

อ่านต่อ

ศาสนากับรัฐธรรมนูญ

ถ้ารัฐธรรมนูญที่จะแก้ไขปรับปรุงใหม่นี้ มีบทบัญญัติที่แยกการเมืองกับศาสนาออกจากกันอย่างชัดเจนเช่นนี้แล้ว ความสัมพันธ์ระหว่างประชาชน ศาสนา กับพระมหากษัตริย์ ก็จะยังคงอยู่ตามขนบธรรมเนียมราชประเพณีแต่โบราณ อันสอดคล้องกับประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม และสังคมไทย ขณะเดียวกันรัฐธรรมนูญฉบับแก้ไขปรับปรุงใหม่ก็จะมีลักษณะที่ก้าวหน้า สอดคล้องกับหลักการสากล และรัฐธรรมนูญของนานาอารยประเทศ

อ่านต่อ

ศาสนาคริสต์กับสังคมการเมือง

แผ่นดินใหญ่เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (หรือ "อุษาคเนย์") เป็นดินแดนที่นับถือพุทธศาสนาและศาสนาพราหมณ์มาเป็นเวลากว่า 2,000 ปี มีเพียงประเทศที่เป็นแหลมและหมู่เกาะในอุษาคเนย์เท่านั้นที่ศาสนาประเภท "เอกเทวนิยม" (Monotheism)

อ่านต่อ

เทววิทยาแห่งการปลดปล่อย

เป็นการตีความหลักความเชื่อในศาสนาคริสต์จากประสบการณ์ของความทุกข์ยาก การต่อสู้และความหวังของคนจน เป็นความพยายามที่จะอ่านคัมภีร์ไบเบิล และหลักธรรมในศาสนาคริสต์จากทรรศนะของคนยากคนจนเรียนรู้ที่จะอ่านพระคัมภีร์ในลักษณะที่ย้ำถึงศักดิ์ศรีและสิทธิของตนเองในการต่อสู้เพื่อชีวิตที่ดีกว่า "เทววิทยาแห่งการปลดปล่อย

อ่านต่อ

ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับศาสนา

นักคิดท่านต่าง ๆ ต่างให้นิยามของศาสนาไปตามโลกทัศน์ของแต่ละบุคคล ซึ่งเมื่อเราพิจารณาคำนิยามเหล่านี้แล้วอาจจะเกิดปัญหาว่านิยามใดดีที่สุด หรือเหมาะสมที่สุด ...

อ่านต่อ

ชาวพุทธกับชาวคริสต์:บทสนทนาเรื่องอิสรภาพ

ศาสนาที่สำคัญทุกศาสนาในโลก รวมทั้งพุทธศาสนากับศาสนาคริสต์ได้กล่าวถึงปัญหาในเรื่องความทุกข์ของมนุษย์ กับอิสรภาพที่พ้นไปจากความทุกข์นั้น

อ่านต่อ

พระเจ้าของซิกมุนด์ฟรอยด์

มนุษย์จึงได้สร้าง “พระเจ้า” ในฐานะ “พ่อที่ยิ่งใหญ่” ขึ้นมา เพื่อตอบสนองต่อ “ปมแห่งความต้องการพ่อ” ในส่วนลึกของจิตใจมนุษย์ ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับ “พระเจ้า” จึงสะท้อนออกมาจากความสัมพันธ์ในส่วนลึกของจิตใจของลูกที่มีต่อพ่อ

อ่านต่อ

ศาสนาในสันติภาพและความขัดแย้ง:การประชุม UNESCO ที่เมลเบิร์น

นับตั้งแต่ทศวรรษที่ 1990 ความขัดแย้งส่วนใหญ่ที่เกิดขึ้นมักเป็นความขัดแย้งภายในประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเป็นความขัดแย้งระหว่างเชื้อชาติหรือศาสนาที่แตกต่างกัน 

อ่านต่อ

สันติภาพ ‘มินดาเนา' บทเรียนปัญหาชายแดนใต้ (ตอนที่ 2)

หากปัจจัยต่าง ๆ ทางสังคมกำหนดเงื่อนไขให้มุสลิมมีความรู้สึกว่าตนเองเป็นส่วนหนึ่งของสังคมไทยแล้ว ปัญหาก็จะได้รับการแก้ไขในที่สุด

อ่านต่อ

การปะทะทางอารยธรรม:ตะวันออกกับตะวันตก

อุดมการณ์ทางศาสนาบางครั้งกลายเป็นปัจจัยที่สำคัญ ที่อาจนำไปสู่สันติภาพ ก็ได้ หรือ นำไปสู่ ความรุนแรง ก็ ได้ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับการตีความ

อ่านต่อ

ยาสุคุนิ : ชินโตแห่งสงคราม

ศาลเจ้า "ยาสุคุนิ" ก่อตั้งขึ้นโดยพระจักรพรรดิญี่ปุ่นสมัย "เมจิ" เมื่อปี พ.ศ.2412 (ค.ศ.1869) ที่กรุงโตเกียว เพื่อเป็นสุสานทหารผ่านศึกที่เสียชีวิตตั้งแต่ก่อนและหลังสมัย "เมจิ" เรื่อยมาเป็นเวลากว่า 100 ปี จนกระทั่งถึงยุคสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่สอง

อ่านต่อ

คู่มือการสานเสวนา

"สินติวิธี" มิใช่ความอ่อนแอ การยอมจำนน หรือการหนีปัญหา ดังที่หลายคนเข้าใจ แต่เป็นวิธีการอันกอปรด้วยพลังสติปัญญา ความกล้าหาญ จินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ ในอันที่จะแสวงหาและพัฒนาวิธีจัดการปัญหาความขัดแย้งและความรุนแรง ที่เหมาะสมกับเงื่อนไข และบริบทของแต่ละสถานการณ์ 

อ่านต่อ

สตรีไทยคนแรกกับรางวัลสันติภาพ ดร.อัมเบดการ์

เป็นที่น่ายินดีว่าผู้ที่ได้รับรางวัลในปีนี้เป็นสุภาพสตรีจากประเทศไทย ได้แก่ มหาอุบาสิกา ดร.บงกช สิทธิพล (ตามการประกาศอย่างเป็นทางการในพิธี) โดยท่านเป็นสตรีไทยคนแรกในประวัติศาสตร์ที่ได้รับรางวัลนี้ 

อ่านต่อ

ศาสนากับสังคมการเมืองในอินโดนีเซีย

ปัจจุบันอินโดนีเซียซึ่งมีประชากรมุสลิมมากที่สุดในโลกนั้นกำลังพบกับทางสามแพร่ง ระหว่างวัฒนธรรมท้องถิ่นที่มีประวัติศาสตร์อันยาวนานกว่า 2,000 ปี ศาสนาอิสลามซึ่งกลายเป็นพลังทางการเมืองที่สำคัญ และโลกตะวันตกซึ่งเป็นต้นแบบเทคโนโลยีและความทันสมัย ในการแสวงหาทิศทางและเอกลักษณ์ของประเทศ

อ่านต่อ

อิสลามกับสังคมการเมืองในอุษาคเนย์

บทความนี้นำเสนออิสลามในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หรือ “อุษาคเนย์” จากมุมมองทางประวัติศาสตร์และสังคมการเมือง พร้อมทั้งวิเคราะห์บทบาทของอิสลามกับความ ขัดแย้งในโลกปัจจุบัน

อ่านต่อ

สัตยาเคราะห์ : อาวุธทางการเมืองของคานธี

ถ้าหากว่าอุดมคตินั้นบริสุทธิ์และตั้งอยู่บนพื้นฐานของสัจจะและความรัก พลังและผู้ติดตามก็จะค่อยๆ เพิ่มขึ้นเอง และการเคลื่อนไหวที่ดีไม่ว่าจะเป็นเรื่องทางสังคมหรือทางการเมืองก็จะเข้ม แข็งขึ้นด้วย

อ่านต่อ

คานธี : ความรักชาติและความรักระหว่างชาติ

การปกครองตนเองโดยสมบูรณ์มิใช่เป็นอิสรภาพที่แยกอยู่ต่างหากอย่างโดดเดี่ยว แต่เป็นการพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกันอย่างมีมิตรจิตมิตรใจ และอย่างมีศักดิ์ศรี" และ "ความเป็นชาตินิยมของเราจะไม่เป็นอันตรายต่อชาติอื่น ตราบเท่าที่เราจะไม่เอาเปรียบใครเท่าๆ กับที่เราจะไม่ให้ใครเอาเปรียบ ด้วยสวราช เราจะรับใช้โลกทั้งมวล

อ่านต่อ

ศาสนากับสังคมการเมืองในอุษาคเนย์

ประวัติศาสตร์ศาสนากับสังคมการเมืองใน "อุษาคเนย์" หรือเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีความสัมพันธ์เกี่ยวโยงกันมาโดยตลอด ความสัมพันธ์ระหว่างศาสนากับสังคมการเมืองดำเนินไปอย่างน้อยในสองแนวทาง

อ่านต่อ

อิสลามกับสังคมการเมืองในอุษาคเนย์

ปัจจุบันมุสลิมในอุษาคเนย์กำลังแสวงหาทิศทางของตนเอง ระหว่างวัฒนธรรมท้องถิ่นที่มีประวัติศาสตร์ยาวนานกว่า 2,000 ปี อิสลามซึ่งกลายเป็นพลังทางการเมืองที่สำคัญ และตะวันตกที่เป็นต้นแบบของเทคโนโลยีและความทันสมัย ซึ่งมีบทบาทและอิทธิพลต่อโลกทั้งมวล

อ่านต่อ

ศาสนากับความยากไร้

การรวมศูนย์อำนาจนี้ส่งผลกระทบต่อความรู้สึกและชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชนในท้องถิ่นอย่างกว้างขวาง ประชาชนท้องถิ่นโดยเฉพาะอย่างยิ่งในภาคอีสาน เกิดความรู้สึกว่าคนไทยภาคกลางเข้ามามีอำนาจเหนือคนไทยเชื้อสายลาว และชีวิตความเป็นอยู่ของคนอีสานยากจนลง

อ่านต่อ

THAI CADET

 

© 2547-2566. จัดทำเป็นวิทยาทาน โดย THAI CADET

Made with Pingendo Free  Pingendo logo