THAI CADET

 พระพุทธศาสนา

สพฺพทานํ ธมฺมทานํ ชินาติ 
การให้ธรรมะเป็นทาน ย่อมชนะการให้ทั้งปวง

พุทธศาสนสุภาษิต
  • พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร

    อริยสัจ ไตรลักษณ์ และนิพพาน “เป็นสัจธรรม” ที่พระพุทธเจ้าได้ตรัสรู้ และได้ทรงแสดงสั่งสอน เรียกได้ว่าเป็น “ธรรมสัจจะ” สัจจะทางธรรมเป็นวิสัยที่พึงรู้ได้ด้วยปัญญา อันเป็นทางพ้นทุกข์ในพระพุทธศาสนา

  • หัวใจพระพุทธศาสนา

    ขันติ คือ ความทนทานเป็นตบะอย่างยิ่ง พระพุทธเจ้าทั้งหลายตรัสว่า พระนิพพานเป็นธรรมอย่างยิ่ง ผู้ทำร้ายผู้อื่น ผู้เบียดเบียนผู้อื่น ไม่ชื่อว่าเป็นบรรพชิต ไม่ชื่อว่าเป็นสมณะเลย การไม่ทำบาปทั้งสิ้น การยังกุศลให้ถึงพร้อม การทำจิตของตนให้ผ่องใสนี้เป็นคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าทั้งหลาย

  • โลกทัศน์เกี่ยวกับพระโพธิสัตว์

    ในพุทธศาสนาฝ่ายเถรวาทนั้นพระโพธิสัตว์ คือ บุคคลผู้บำเพ็ญบารมีธรรมอุทิศตนช่วยเหลือสัตว์ผู้มีความทุกข์ยาก และจะได้ตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้าในอนาคต พุทธศาสนาฝ่ายมหายานเรียกบุคคลเช่นนี้ว่าเป็นผู้มีพลังหรืออำนาจมุ่งสู่โพธิญาณ

  • ประวัติศากยะวงศ์ในประเทศเนปาล

    ตระกูลศากยะวงค์จึงเป็นตระกุลที่มีบทบาทมาก ในการสร้างศิลปะวัฒนธรรมของประเทศเนปาล และทางพระพุทธศาสนาด้วย ตั้งแต่สมัยพุทธกาลมาจนถึงปัจจุบัน

  • ความรู้เกี่ยวกับพระไตรปิฎก

    ไตรปิฎก “ปิฎกสาม” ; ปิฎก แปลตามศัพท์อย่างพื้น ๆ ว่า กระจาดหรือตะกร้า อันเป็นภาชนะสำหรับใส่รวมของต่าง ๆ เข้าไว้ นำมาใช้ในความหมายว่า เป็นที่รวบรวมคำสอนในพระพุทธศาสนาที่จัดเป็นหมวดหมู่แล้ว

  • พระไตรปิฎกกับการธำรงพระพุทธศาสนา

    ถ้าตอบอย่างสั้นที่สุด ก็พูดได้ว่า พระไตรปิฎกกับการธำรงพระพุทธศาสนาเป็นเรื่องเดียวกัน การธำรงพระไตรปิฎก ก็คือการธำรงพระพุทธศาสนา นี้เป็นความหมายอย่างง่ายที่สุด

  • มิลินทปัญหา

    ข้าพเจ้าจะติดตามยึดถือ ศึกษาศาสนาขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ที่ได้ทรงตรัสสั่งสอนไว้แล้วให้ถึงที่สุด ข้าพเจ้าจะพยายามปฏิบัติตามคำสอนเหล่านั้นให้อย่างยิ่ง แม้จะถึงซึ่งชีวิตก็ไม่เสียดาย 

  • คำถาม-คำตอบเกี่ยวกับพระพุทธศาสนา

    พระพุทธศาสนา คืออะไร l จุดมุ่งหมายแห่งการสั่งสอนของพระพุทธเจ้า คืออะไร l ชาวพุทธควรเชื่ออย่างไร และเชื่ออะไร l เราจะใช้ชีวิตอย่างมีความสุขโดยไม่มีศาสนาได้หรือไม่

  • ธรรมชาติของชีวิต

    ตามหลักพุทธธรรมถือว่าความเป็นไปของสรรพสิ่งนั้น ไม่มีสิ่งใดอยู่นอกเหนือกฎเกณฑ์ของธรรมชาติ อีกทั้งไม่มีตัวการอื่นใดที่อยู่นอกเหนือออกไปอีก ไม่ว่าจะอยู่ในฐานะเป็นผู้สร้างหรือผู้บันดาล

  • ธรรมเพื่อเสริมความเป็นคน

    พระพุทธเจ้าทรงแสดงหลักธรรมสำหรับการดำเนินชีวิตไว้มากมายหลาย ตามระดับความสามารถของผู้ปฏิบัติ อย่างไรก็ตามหลักปฏิบัติที่ต่างกันนั้นล้วนมุ่งไปสู่เป้าหมายเดียวกัน คือ 

  • ความสัมพันธ์ระหว่างวัฒนธรรมกับศาสนา

    เมื่อกล่าวถึงวัฒนธรรมไทยสิ่งหนึ่งที่จะต้องกล่าว ควบคู่กันไปนั่นคือ “พระพุทธศาสนา” ทั้งนี้เพราะคำสอนทางพระพุทธ ศาสนามีส่วนในการสร้างระบบจริยธรรมให้สังคมไทย 

  • พิธีกรรมกับจริยธรรมในสังคม

    ไม่ว่าจะเป็นพิธีกรรมประเภทใด ๆ ก็ตามล้วนแต่มีสารัตถะอยู่ที่การเสริมสร้างความดีงาม และความบริสุทธิ์แห่งความคิดของผู้ร่วมพิธีกรรม 

  • เทคโนโลยีกับการสร้างแนวจริยธรรม

    ความเจริญก้าวหน้าทางวัตถุนั้นพบได้ในเกือบทุกสังคมมนุษย์ แต่อยู่ที่คนจะยินดีรับเอาเฉพาะสิ่งที่เหมาะสมดีงาม ตามความต้องการของส่วนรวม และปรับปรุงให้เข้ากับวัฒนธรรมของตนอย่างเหมาะสม 

  • สถานภาพอันคาบเกี่ยวของแม่ชีกับสิทธิสตรีที่สังคมปิดตาย

    “แม่ชี” ภาพลักษณ์ของผู้เผยแผ่ศาสนา ซึ่งฉันเข้าใจเสมอมา ว่าเราสามารถนิยามถึงสถานภาพของแม่ชีได้ว่า “นักบวช” นั้น แต่เหตุใด จึงไม่ได้รับความสะดวกจากสังคมตามสมควร เหมือนอย่างพระภิกษุและสามเณร 

  • คนเทียมมิตรและมิตรมีใจดี

     บัณฑิตรู้แจ้งมิตร ๔ จำพวกเหล่านี้ คือ มิตรมีอุปการะ ๑ มิตรร่วมสุขร่วมทุกข์ ๑ มิตรแนะประโยชน์ ๑ มิตรมีความรักใคร่ ๑ ว่าเป็นมิตรแท้ ฉะนี้แล้ว พึงเข้าไปนั่งใกล้โดยเคารพเหมือนมารดากับบุตร ฉะนั้น

  • พุทธจริยธรรม

    “ธมฺมสฺส จริยา ธมมา วา อนเปตา จริยา ธมฺมจริยา” แปลว่า “ความประพฤติที่เหมาะสม หรือความประพฤติที่ไม่ปราศจากธรรม เรียกว่า ธรรมจริยา” 

  • พุทธจริยธรรมกับการดนตรี

    ถึงแม้จะมีบทเพลงปรากฏอยู่มาก แต่ถ้าบทเพลงนั้นเป็นสิ่งที่เจือปนด้วยกิเลสตัณหา ขัดขวางต่อการบรรลุคุณธรรม หรือเป็นข้าศึกต่อกุศลก็ไม่อนุญาต 

  • เกณฑ์ตัดสินความดีความชั่ว

    เกณฑ์วินิจฉัยกรรมดีและกรรมชั่วว่า ในแง่ของกรรมให้ถือเอาเจตนาเป็นหลักตัดสินว่าเป็นกรรมหรือไม่ และในแง่ที่ว่ากรรมนั้นดีหรือชั่ว ให้พิจารณาตามเกณฑ์หลัก คือ การตัดสินด้วยความเป็นกุศลหรือเป็นอกุศล โดย 

  • ปาณาติบาตกับสงคราม

    ในการทำสงคราม หรือแม้แต่การทำสงครามที่เป็นธรรม มีความเกี่ยวข้องโดยตรงกับสิกขาบทข้อที่หนึ่ง เนื่องจากการทำสงครามเกี่ยวข้องกับการทำลายชีวิตมนุษย์ 

  • พุทธจริยศาสตร์กับแนวคิดเรื่องสงครามที่เป็นธรรม: กรณีศึกษาทรรศนะของนักวิชาการในบริบทสังคมไทยร่วมสมัย

    พระพุทธศาสนาจะถือว่าสงครามหนึ่งเป็นสงครามที่เป็นธรรมก็ต่อเมื่อ ผู้กระทำมีเจตนาที่ไม่เบียดเบียนมุ่งร้าย ห่างไกลจากอกุศลมูลทั้งปวง และประกอบด้วยสติปัญญา

  • BUDDHIST ETHICS: JUST WAR?

    It seems that there is a contradiction between the teachings of Buddhism, and the use of the teachings to justify the start of war. 

  • ทรรศนะนักวิชาการไทยเกี่ยวกับสงครามที่เป็นธรรม

    สงครามที่เป็นธรรมจัดเป็นความขัดแย้งทางจริยธรรมระหว่างหน้าที่ในอันที่จะไม่ฆ่า หรือเบียดเบียนผู้อื่น และหน้าที่ในการป้องกันประเทศ หรือรักษาสันติภาพ

  • THAI SCHOLARS’ VIEWS ABOUT JUST WAR,

    The just war concept is an ethical conflict between the duty not to kill nor disturb others and the duty to defend a country or keep peace. 

  • นรก-สวรรค์ สิ่งซ่อนเร้น จิตไร้สำนึก

    จิตไร้สำนึกเป็นเรื่องของคุณค่าที่ถูกสั่งสมกันมาในวัฒนธรรมหนึ่ง นรกสวรรค์ของคนชนชาติหนึ่ง จึงเจือปนอยู่ด้วยวัฒนธรรมของชนชาตินั้น “นรก-สวรรค์” ในลักษณะเช่นนี้จึงมิใช่ข้อเท็จจริง 

  • บิ๊กแบง และอนัตตา

    จิตใจจึงเป็นปรากฏการณ์ที่เป็นผลผลิตของวิวัฒนาการของจักรวาลนี้ กล่าวคือ เป็นจิตใจที่ใฝ่หาความรู้ความเข้าใจในตัวเอง มีความอิจฉาริษยา ขณะเดียวกันก็มีความเมตตากรุณา และใฝ่หาคุณธรรม และสัจธรรม 

  • พุทธศาสนาไม่ใช่จิตนิยม

    พระพุทธเจ้าทรงปฏิเสธทฤษฎี “จิตอมตะ” ของพวกพราหมณ์ โดยชี้ให้เห็นว่าทฤษฎีดังกล่าวไม่สอดคล้องกับความเป็นจริงในธรรมชาติ และเสนอทฤษฎี “อนัตตา” ขึ้นมาแทน โดยทรงอธิบายว่า 

  • พุทธศาสนากับสสารนิยม

    หลัก “ไตรลักษณ์” ของพุทธศาสนาข้อหนึ่ง คือ อนิจจัง (ความไม่เที่ยง) นับเป็นการปฏิเสธทฤษฎี “ฟิสิกส์แบบนิวตั้น” โดยสิ้นเชิง 

  • พุทธศาสนากับธรรมชาตินิยม

    ปรัชญา “ธรรมชาตินิยม” ตั้งต้นจากทรรศนะที่ว่า “สิ่งที่เป็นจริงซึ่งเรียกว่า สิ่งธรรมชาติ จะต้องอยู่ภายใต้อวกาศและเวลา เกิดขึ้นและดับลงโดยมีสาเหตุ และสาเหตุนั้นจะต้องเป็นสิ่งธรรมชาติด้วย” 

  • เจ้าชายนิทราปรากฏการณ์ของสมองกับจิต

    โครงสร้างทางสมองของมนุษย์ นับเป็นโครงสร้างที่ซับซ้อนที่สุดในจักรวาลนี้ ดังนั้น ความผิดปกติที่เกิดขึ้นกับโครงสร้างทางสมอง จึงส่งผลโดยตรงต่อปรากฏการณ์ที่เรียกว่า “จิตใจ” อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ 

  • พุทธศาสนากับศิลปะแบบตันตระ

    พระพุทธรูปดังกล่าวเป็นพระพุทธรูปแบบ “วัชรยาน” (Vajrayana) อันเป็นศิลปะแบบ “ตันตระ” ของทิเบต ซึ่งเป็นที่เคารพบูชาในหมู่ประชาชนชาวทิเบตมานานหลายชั่วอายุคน  

  • ดับไฟใต้ด้วยนโยบายการศึกษาที่ถูกต้อง

    เด็กทุกคนจึงควรจะได้เรียนวิชา “พระพุทธศาสนา” ในมิติทางสังคมและวัฒนธรรมไทยในโรงเรียน เพื่อให้เกิดความรู้สึกว่าเป็นส่วนหนึ่งของสังคมและวัฒนธรรมไทยร่วมกัน ความรู้สึกแปลกแยกจะได้หมดไป 

  • ศาสนากับการกำเนิดของระบบทุนนิยม

    นักปฏิรูปพุทธศาสนาของไทยได้เน้นคำสอนทางจริยธรรมที่เป็นการส่งเสริมคุณค่า และคุณภาพชีวิต อันเป็นพื้นฐานสำคัญที่จะช่วยให้ประสบความสำเร็จในทางธุรกิจ โดยเฉพาะอย่างยิ่งสำหรับชนชั้นกลาง

  • พลิกฟื้นประวัติศาสตร์...ที่สาวัตถี

    บัดนี้พระพุทธศาสนาได้หยั่งรากลงสู่ประเทศอินเดีย ดินแดนแห่งพุทธภูมิอย่างเป็นรูปธรรมแล้ว รอแต่วันที่จะแตกช่อเติบโตขึ้นเพื่อความสุขของมนุษยชาติ และเพื่อสันติภาพของโลก ...

  • สามเณรีกับสิทธิทางกฎหมาย

    ความตื่นตัวด้านสิทธิสตรีในทางสากล และความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ "ภิกษุณี" ในสังคมไทยที่มีเพิ่มขึ้น ได้จุดประกายให้ผู้หญิงไทยจำนวนหนึ่ง แม้จะน้อยนิด แต่ก็เป็นผู้ที่มีความกล้าหาญในทางจริยธรรม และกล้าหาญต่อหนทางแห่งสัจจะ ได้ตัดสินใจออกบวชอย่างเต็มรูปแบบในฐานะ "สามเณรี" และ "ภิกษุณี ...

  • สำนักพุทธศาสนาของไทย : มุมมองทางสังคมวัฒนธรรม

    นับตั้งแต่ราชอาณาจักรสุโขทัยในคริสต์ศตวรรษที่ 13 เป็นต้นมา พุทธศาสนาถูกนำมาใช้ทั้งเชิงจักรวาลวิทยาและเชิงสถาบัน ในการรับรองสถานะของพระมหากษัตริย์และรัฐไทย ...

  • พระสงฆ์ไทยกับสิทธิทางกฎหมาย

     กฎของมหาเถรสมาคมว่าด้วยเรื่องการทำหนังสือเดินทางของพระสงฆ์ จึงน่าจะขัดแย้งกับรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย และมิชอบด้วยกฎหมาย มหาเถรสมาคมน่าจะมีวิธีการที่ดีกว่านี้ ในการป้องกันปัญหาพระสงฆ์ไทยในต่างประเทศที่ประพฤติตนเสื่อมเสีย ...

  • ๒๐๐ ปีแห่งการปฏิรูปพุทธศาสนาของไทย

    พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงทรงพระดำริ ที่จะให้มีการปฏิรูปพุทธศาสนาในสังคมไทยขึ้นเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์สมัยใหม่ของไทย การปฏิรูปของพระองค์ดำเนินไปใน ๒ แนวทางคือ การปฏิรูปคำสอนของพุทธศาสนา และการปฏิรูปองค์การของพุทธศาสนา

  • วัยรุ่นไทยกับกระแสลัทธิแม่มด

     ขณะที่ผู้ใหญ่กำลังแสวงหาลาภ ยศ สรรเสริญ สุข ในโลกแคบๆ ของผู้ใหญ่อยู่นั้น เด็กวัยรุ่นได้แสวงหาเข้าไปในโลกแห่งจินตนาการของเด็ก การมีอำนาจวิเศษในตนเองนับเป็นทางเลือกหนึ่งที่มีเสน่ห์ในช่วงวัยแห่งชีวิตของเด็ก 

  • พระสงฆ์ไทยกับสิทธิในการเลือกตั้ง

    ข้ออ้างโดยทั่วไปที่ห้ามมิให้พระสงฆ์ไปใช้สิทธิ์ออกเสียงในการเลือกตั้งก็คือ พระสงฆ์ไม่ควรจะยุ่งเกี่ยวกับการเมือง เนื่องจากพระสงฆ์เป็นผู้ที่บริสุทธิ์ ส่วนการเมืองเป็นเรื่องสกปรก พระสงฆ์จึงไม่ควรเข้าไปแปดเปื้อนกับความสกปรกของการเมือง ...

  • คนหรือศาสนา : ใครกันแน่ที่เสื่อม

    ศาสนาจึงเปรียบเหมือนสิ่งที่มีชีวิต ที่ดำรงอยู่ในจิตใจของมนุษย์ เป็นเรื่องของโลกทรรศน์และการตีความสัจธรรมของแต่ละคน ศาสนาจึงมิใช่พิธีกรรม สัญลักษณ์ หรือลัทธิคำสอน 

  • ประชาศาสนา : ศาสนาของนักการเมือง

     ในสังคมและวัฒนธรรมทางการเมืองของไทยนั้น การอ้างสถาบัน "ชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์" นั้นกระทำกันอย่างกว้างขวางในหมู่นักการเมืองไทย แต่เป็นการอ้างอย่างกว้างๆ และคลุมเครือ เพื่อเรียกร้องคะแนนเสียงจากประชาชน 

  • เมื่อหลวงตามหาบัวถวายฎีกา

    การออกมาเคลื่อนไหวของหลวงตามหาบัวและสานุศิษย์ รวมทั้งนายทองก้อน วงศ์สมุทร จึงนับเป็นการเคลื่อนไหวของภาคประชาชน และพระสงฆ์ภาคประชาชนโดยแท้ เพื่อเรียกร้องอำนาจของสถาบันพระมหากษัตริย์ และภาคประชาชนให้กลับคืนมาอีกครั้งหนึ่ง เพื่อการถ่วงดุลอำนาจรัฐและคณะสงฆ์ภายใต้อำนาจรัฐ 

  • ศักดิ์สิทธิ์กับธรรมดา : ความเท่าเทียมของศาสนา ? 

    อีมีล เดอร์ไคม์ นักสังคมวิทยาชาวฝรั่งเศส ได้เสนอทฤษฎีว่า "ทุกศาสนามีความเป็นศาสนาโดยเท่าเทียมกัน" โดยให้เหตุผลว่า ศาสนาแต่ละศาสนาล้วนเกี่ยวข้องกับองค์ประกอบที่สำคัญสองสิ่งคือ 

  • พุทธศาสนากับสิทธิสตรี

     คำสอนของศาสนาที่สำคัญของโลกส่วนใหญ่ จะมีพื้นฐานที่ให้สิทธิความเสมอภาคระหว่างเพศชายกับเพศหญิง ในพุทธศาสนาผู้ชายกับผู้หญิงมีธรรมชาติแห่งความเป็นพุทธะเหมือนกัน และผู้หญิงก็สามารถบรรลุธรรมที่สูงสุดได้เช่นเดียวกับผู้ชาย 

  • สถานภาพและบทบาทของทะไลลามะ

     การเสด็จลี้ภัยการเมืองของทะไลลามะและชาวทิเบตเป็นจำนวนมากไปอยู่ทางตอนเหนือของอินเดีย ทำให้พุทธศาสนาฝ่ายทิเบตเป็นที่รู้จักของชาวโลกอย่างที่ไม่เคยปรากฏมาก่อน และกลายเป็นคู่แข่งขันที่สำคัญของพุทธศาสนานิกายเซนในโลกตะวันตก 

  • มัมมี่ยาอายุวัฒนะและจิตอมตะ

     ถ้าชีวิตหลังความตายคือ “การกลับชาติมาเกิดใหม่” เป็น “ข้อเท็จจริง” (fact) มนุษย์ไม่ว่าชาติใดภาษาใดหรือศาสนาใด ก็ต้องกลับชาติมาเกิดใหม่เสมอไม่มียกเว้น 

  • ศาสนาคือฝิ่นของประชาชน?

     ในขณะที่มาร์กซ์เลือกใช้วิธีปฏิวัติทางชนชั้นที่รุนแรงนั้น พระพุทธเจ้ากลับทรงใช้หลักเมตตาธรรมและสันติวิธี ในการนำมนุษย์สู่ความหลุดพ้นทั้งปวง 

  • ภูฏาน : วัชรยานใต้ฟ้าป่าหิมพานต์

     พุทธศาสนาฝ่ายวัชรยานนั้นรุ่งเรืองอยู่ในภูฏาน ทิเบต และมองโกเลีย ทุกวันนี้ภูฏานได้กลายเป็นปราการหรือที่มั่นสุดท้ายของพุทธศาสนานิกายที่วิจิตรพิสดารและเร้นลับนี้ในโลกปัจจุบัน 

  • ศาสนาแห่ง “ปัญญา” และ “สติ”

    มนุษย์จะเข้าถึงความจริงข้อนี้ได้ก็โดยอาศัย "การเจริญสติ" (สติปัฏฐาน ๔) ให้รู้เท่าทันธรรมชาติความเป็นไปทั้งภายในและภายนอก ในแง่นี้พุทธศาสนาจึงอาจจัดได้ว่าเป็นศาสนาแห่ง "ปัญญา" และ "สติ" โดยแท้ 

  • อินเดีย-ศรีลังกา : รากฐานพุทธศาสนาของไทย

    ตลอดประวัติศาสตร์กว่า ๒,๕๐๐ ปีที่ผ่านมา ชาวศรีลังกาได้ต่อสู้เพื่อปกป้องพุทธศาสนาให้ยืนยงเคียงคู่แผ่นดินลังกามาอย่างยาวนานและยากลำบาก 

  • ๑๐๐ ปีแห่งชาตกาลของพุทธทาสภิกขุ

    พุทธทาสภิกขุได้รับการยกย่องจากองค์การยูเนสโก ๑ ว่าเป็นบุคคลสำคัญของโลก รัฐบาลไทยและประชาชนทุกหมู่เหล่าต่างก็เตรียมการเพื่อเฉลิมฉลอง เนื่องในวาระครบรอบวันเกิด 100 ปีของท่านในปีนี้ 

  • พุทธศาสนาเถรวาทในลาว

    พุทธศาสนาในระบอบสังคมนิยมลาวได้รับการตีความใหม่ โดยผสมผสานแนวคิดเกี่ยวกับการต่อสู้เพื่อเอกราชอธิปไตย และหลักการของสังคมนิยมเข้าไว้ด้วย

  • ความสุขมวลรวมประชาชาติ (GNH)

    แม้อาณาจักรโรมันจะเป็นผู้ประหารชีวิตพระเยซู แต่พระจักรพรรดิแห่งกรุงโรมองค์ต่อๆ มาก็ได้หันมายอมรับนับถือศาสนาคริสต์ ทำให้ศาสนาคริสต์แผ่กระจายไปทั่วทั้งยุโรปและตะวันออกกลาง 

  • บัตรประจำตัวของพระสงฆ์

    การออกบัตร "สมาร์ทการ์ด" แก่พระสงฆ์ตามข้อเสนอของพระวินยาธิการนั้น จึงน่าจะเป็นการออกทดแทนใบสุทธิ อันจะทำให้ใบสุทธิเป็นบัตรที่ทันสมัย 

  • พุทธศาสนาในกัมพูชา

     พุทธศาสนาสอนเราให้อยู่ร่วมกันอย่างเป็นประชาธิปไตยและเป็นเอกภาพ โดยคิดถึงประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าส่วนตน พุทธศาสนาสอนเราให้รู้จักช่วยเหลือตนเองและผู้อื่น อันสอดคล้องกับสังคมมนุษย์ที่ต้องการสันติภาพและสันติสุข 

  • พุทธศาสนาในพม่า

    ตลอดระยะเวลาเกือบ ๖๐ ปีภายใต้ลัทธิอาณานิคม นโยบายการไม่ยุ่งเกี่ยวกับศาสนาของอังกฤษทำให้เกิดช่องว่างในความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับศาสนาขึ้น การอุปถัมภ์ค้ำจุนของรัฐที่มีต่อพุทธศาสนาได้หยุดชะงักไป 

  • อาณาจักรศรีวิชัยและมหาสถูปโบโรบูโดร์

    ในสมัยอาณาจักรศรีวิชัยพุทธศาสนามีอิทธิพลเหนือหมู่เกาะอินโดนีเซียและแหลมมลายูไม่ต่ำกว่า 600 ปี พุทธศาสนาในสมัยศรีวิชัยเป็นพุทธศาสนาฝ่ายมหายานที่ผสมผสานกับวัฒนธรรมท้องถิ่น มีการสร้างพุทธสถานที่ใหญ่โตวิจิตรงดงาม โดยเฉพาะอย่างยิ่งมหาสถูปโบโรบูโดร์ รวมทั้งพระพุทธรูปเป็นอันมาก

  • ๙๖ ปี หลวงพ่อปัญญานันทภิกขุ

     "เราประทับใจมากที่ท่านสอนให้เราไม่ยึดติด" "ท่านสอนง่ายตรงไปตรงมา ไม่ใช้คำบาลีมากมาย" คือเหตุผลที่บรรดาพุทธศาสนิกชน ต่างเดินทางมาที่วัดเพื่อมาฟังปาฐกถาธรรมจากหลวงพ่อ ถ้อยคำสอนที่ว่า "งานคือชีวิต ชีวิตคืองาน บันดาลสุข ทำงานให้สนุก เป็นสุขเมื่อทำงาน" เป็นคำสอนที่ฟังดูง่าย แต่ทว่าลึกซึ้งกินใจแก่ชาวพุทธมาเป็นระยะเวลาช้านาน

  • บทบัญญัติว่าด้วยศาสนาในรัฐธรรมนูญฉบับใหม่

    "ถ้ารัฐธรรมนูญฉบับใหม่ มีบทบัญญัติที่แยกการเมืองกับศาสนาออกจากกันอย่างชัดเจนเช่นนี้แล้ว ความสัมพันธ์ระหว่างประชาชน ศาสนา กับพระมหากษัตริย์ ก็จะยังคงอยู่ตามราชประเพณีโบราณ อันสอดคล้องกับประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม และสังคมไทย ขณะเดียวกันรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ก็จะมีลักษณะที่ก้าวหน้า สอดคล้องกับรัฐธรรมนูญของนานาอารยประเทศอีกด้วย 

  • ศาสนากับสังคมการเมืองในเวียดนาม

    เวียดนามได้รับอิทธิพลจากพุทธศาสนามหายาน ซึ่งกลายเป็นปัจจัยหนึ่งที่ทำให้เวียดนามแตกต่างไปจากเพื่อนบ้านในเอเชียอาคเนย์ 

  • พุทธศาสนาในสิงคโปร์

     คณะสงฆ์ในสิงคโปร์มีความโดดเด่นน้อยกว่าคณะสงฆ์อื่นในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ การปฏิบัติของชาวพุทธสิงคโปร์โดยทั่วไปคือ การกราบไหว้พระพุทธรูป การเสี่ยงเซียมซี และบางครั้งก็นั่งสวดมนต์อย่างเงียบๆ ในสิงคโปร์เราจะพบเห็นพระสงฆ์ได้ก็แต่ในวัดใหญ่ที่เพิ่งบูรณะใหม่เท่านั้น เช่น วัดซวนหลิน วัดหลงซัน และวัดโปร์คาร์กซี เป็นต้น 

  • ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ ผู้ฝ่ามรสุมการเมืองด้วยหลักธรรม

    ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ ได้รับรางวัลสตรีดีเด่นในพระพุทธศาสนาแห่งโลก ประจำปี 2548 เนื่องในโอกาสวันสตรีสากลแห่งสหประชาชาติ ณ ตึกสหประชาชาติ กรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 7 มีนาคม 2548 โดยท่านยึดคติธรรมประจำใจอยู่เสมอว่า "ธรรมย่อมรักษาผู้ประพฤติธรรม

  • พระสงฆ์ทุศีล : ภิกษุสันดานกา

    พระภิกษุสงฆ์ก็เช่นเดียวกัน ถ้าหากตนเองมิได้ประพฤติตนดังเช่นคำวิพากษ์วิจารณ์ของศิลปินที่แสดงออกในภาพเขียนที่ชื่อ "ภิกษุสันดานกา" แล้ว ก็ไม่ควรที่จะต้องเดือดเนื้อร้อนใจแต่ประการใด เพราะชาวพุทธยังคงให้ความเคารพนับถือด้วยศรัทธาที่มั่นคงเหมือนเดิม มีแต่เพียงภิกษุซึ่งประพฤติตนมิชอบอันเข้าข่าย "ภิกษุสันดานกา" เท่านั้น ที่จะพึงเดือดเนื้อร้อนใจเพราะคำวิพากษ์วิจารณ์นั้น 

  • เมื่อ “คลังหลวง” จะถูกถลุง

    การออกมาคัดค้าน “พระราชบัญญัติเงินตราฉบับใหม่” ของหลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน และประชาชนในขณะนี้ จึงเป็นสิ่งที่ชอบด้วยเหตุผล ที่รัฐบาลและสภานิติบัญญัติแห่งชาติพึงรับฟังและรับพิจารณา และนับเป็นการออกมา “กู้ชาติ” อีกครั้งหนึ่งของพระป่าแห่งวัดป่าบ้านตาด ในดินแดนอีสานของไทย 

  • พระสงฆ์ไทยกับสิทธิในการเลือกตั้ง

     ในเรื่องที่เกี่ยวกับบัตรประจำตัวนั้น ข้าราชการมีสิทธิที่จะถือทั้งบัตรข้าราชการและบัตรประชาชนในเวลาเดียวกันฉันใด พระสงฆ์ก็ควรจะมีสิทธิถือทั้งใบสุทธิและบัตรประชาชนในเวลาเดียวกัน (ตามสิทธิที่ได้บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ) ฉันนั้น 

  • ศาสนาในบรูไนและติมอร์ตะวันออก

     นับตั้งแต่ทศวรรษที่ 1990 เป็นต้นมา มีความพยายามที่จะสร้างชาติและวัฒนธรรมภายใต้คำขวัญที่ว่า "มาเลย์-อิสลาม-กษัตริย์" แต่ปัญหามีอยู่ว่าชนชั้นกลางซึ่งนับวันจะมีจำนวนเพิ่มขึ้นนั้นจะยอมรับการปกครองในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ต่อไปอีกสักเท่าใด ในเมื่อสถานะทางการศึกษาและการเงินของชนชั้นกลางเหล่านี้มีสูงขึ้นตามลำดับอย่างต่อเนื่อง 

  • ทะไลลามะกับปัญหาทิเบต

    การเสด็จลี้ภัยการเมืองของทะไลลามะและชาวทิเบตเป็นจำนวนมากไปอยู่ทางตอนเหนือของอินเดีย ทำให้พุทธศาสนาฝ่ายวัชรยานแบบทิเบตเป็นที่รู้จักของชาวโลกอย่างที่ไม่เคยปรากฏมาก่อน และกลายเป็นคู่แข่งขันที่สำคัญของพุทธศาสนานิกายเซนในโลกตะวันตก 

  • พุทธศาสนากับสังคมการเมืองในศรีลังกา

     มีความพยายามหลายครั้งที่จะทำลายพุทธศาสนาและเปลี่ยนคนพื้นเมืองให้ไปนับถือศาสนาคริสต์ เหตุการณ์เหล่านี้ รวมทั้งความรู้สึกภูมิใจและหวงแหนในมรดกวัฒนธรรมของตน เป็นแรงผลักดันให้ชาวศรีลังกาส่วนใหญ่รู้สึกถึงความจำเป็นที่จะต้องปกป้องศาสนาของตนอย่างกระตือรือร้น 

  • “เขาพระวิหาร” กับพุทธศาสนาในกัมพูชา

    ตามประเพณีเดิมนั้นโบราณสถานทางศาสนาใช้เป็นที่ประกอบพิธีบูชาของประชาชนทั้งสองฝ่าย แต่เมื่อพิจารณาจากเอกสารทางประวัติศาสตร์ที่ฝรั่งเศสทำขึ้น ศาลโลกจึงตัดสินให้เขาพระวิหารเป็นของกัมพูชาในปี พ.ศ.2505

  • ธรรมิกสังคมนิยม” กับการเมืองไทย

    ทฤษฎี "ธรรมิกสังคมนิยม" ของพุทธทาสภิกขุ ซึ่งเป็นปรัชญาการเมืองของนักคิดไทย ในบริบทของสังคมไทย บางทีอาจให้แนวทางในการแสวงหาคำตอบต่อเสียงเรียกร้องนี้ ซึ่งออกมาจากความต้องการที่แท้จริงของประชาชน 

  • พระสงฆ์ไทยกับการชุมนุมทางการเมือง

     รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 5 ระบุว่า "ประชาชนชาวไทยไม่ว่าเหล่ากำเนิด เพศ หรือศาสนาใด ย่อมอยู่ในความคุ้มครองแห่งรัฐธรรมนูญนี้เสมอกัน" 

  • ไสยศาสตร์กับชนชั้นในสังคมไทย

    ไสยศาสตร์แห่งอภิปรัชญาอาจจัดเป็นไสยศาสตร์ระดับสูง ขณะที่ไสยศาสตร์แห่งความศักดิ์สิทธิ์และการทำนายทายทักอาจนับเป็นไสยศาสตร์ ระดับกลาง และไสยศาสตร์แห่งการทรงเจ้าเข้าผีและไสยดำอาจถือได้ว่าเป็นไสยศาสตร์ระดับต่ำ

  • พัฒนาการทางความคิดของพุทธศาสนามหายาน

    เราทุกคนสามารถที่จะเป็น "ผู้สมัครแข่งขันชิงชัย" (candidate) ได้ โดยแนะนำว่าเราทุกคนควรจะบำเพ็ญ "พระโพธิสัตวธรรม" (ธรรมะของพระโพธิสัตว์) เพื่อปรารถนาต่อพุทธภูมิในวันข้างหน้า 

  • ทฤษฎี “ธรรมชาติแห่งความเป็นพุทธะ”

    ภายหลังจากที่พุทธศาสนามหายานก่อกำเนิดขึ้นในอินเดียแล้ว ก็ได้เจริญรุ่งเรืองอยู่นานหลายศตวรรษ ต่อมาก็ได้เผยแผ่ลงไปยังเอเชียอาคเนย์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งอาณาจักรขอมและอาณาจักรศรีวิชัย ส่วนอีกสายหนึ่งซึ่งเป็นสายหลักได้ขึ้นไปทางทิศเหนือและรุ่งเรืองอยู่ในดินแดนเอเชียกลาง 

  • พุทธศาสนากับสังคมการเมืองในอุษาคเนย์

    พุทธศาสนาได้ให้อุดมการณ์ทางความคิดและพื้นฐานทางวัฒนธรรมแก่ชาวอุษาคเนย์ ในการเผชิญหน้ากับลัทธิอาณานิคมจากตะวันตก การยึดครองของญี่ปุ่นในสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง และลัทธิเผด็จการทหาร โดยเฉพาะอย่างยิ่งในพม่า 

  • พุทธศาสนามหายานในอุษาคเนย์

     เวียดนามรับพุทธศาสนามหายานจากจีนและปรับให้เป็นพุทธศาสนาแบบเวียดนาม ส่วนชาวจีนในสิงคโปร์ได้นำพุทธศาสนามหายานติดตัวมาและปรับเปลี่ยนให้เป็นพุทธศาสนาแบบสมาคม อันเป็นรูปแบบของพุทธศาสนาสมัยใหม่ แต่ทั้งหมดนี้ได้สะท้อนให้เห็นถึงอิทธิพลของอารยธรรมจีนในอุษาคเนย์ 

  • ภิกษุณี : มุมมองทางประวัติศาสตร์

    ภิกษุณีสงฆ์ได้รับการฟื้นกลับคืนมาอีกครั้งหนึ่งในประเทศศรีลังกาจนถึงปัจจุบัน และได้ขยายตัวมายังดินแดนเอเชียอาคเนย์รวมทั้งประเทศไทย โดยภิกษุณีสงฆ์ฝ่ายเถรวาทได้รับการยอมรับมากขึ้นโดยลำดับทั้งในสังคมไทยและสังคมนานาอารยประเทศ 

  • ทะไลลามะกับอนาคตของทิเบต

    เวลา 16 ปีนั้นนานเกินไปสำหรับการสานต่ออุดมการณ์การเรียกร้องสิทธิการปกครองตนเองจากจีน และก็ไม่มีหลักประกันใดๆ ว่าเด็กคนนั้นจะไม่ถูกปลูกฝังอุดมการณ์เป็นอย่าง อื่นในแผ่นดินทิเบตภายใต้การปกครองของจีน ทะไลลามะองค์ปัจจุบันจึงทรงพอพระทัยมากกว่า ที่จะแต่งตั้งทายาททางการเมืองด้วยพระองค์เองขณะที่พระองค์ยังทรงพระชนม์อยู่

  • อัมเบดการ์ พุทธศาสนากับสิทธิมนุษยชน

     ดร.อัมเบดการ์เป็นนักต่อสู้เพื่อสิทธิมนุษยชน (โดยเฉพาะอย่างยิ่งสิทธิของคนวรรณะต่ำและคนนอกวรรณะในอินเดีย) นักต่อสู้เพื่อเอกราชของอินเดีย และบุคคลแรกในประวัติศาสตร์สมัยใหม่ที่นำพุทธศาสนากลับคืนสู่ประเทศอินเดีย 

  • กรณีพิพาทเขาพระวิหารมุมมองทางศาสนา

    ถ้ารัฐบาลไทยและรัฐบาลกัมพูชามีข้อตกลงร่วมกันว่าปราสาทพระวิหารเป็นพื้นที่ร่วมกันของทั้งสองประเทศ เปิดพรมแดนให้คนทั้งสองฝ่ายสามารถเข้าไปสักการะและทำพิธีทางศาสนาร่วมกันได้ หรือจดทะเบียนเป็นมรดกโลกร่วมกันทั้งสองประเทศ หรือยกพื้นที่ปราสาทพระวิหารให้กับองค์การพุทธศาสนาที่เป็นตัวแทนของชาวพุทธทั่วโลก เข้าไปดูแลและบริหารจัดการ โดยเป็น "เขตสันติภาพ"ไม่มีกองกำลังทหารของทั้งสองฝ่ายอยู่ในอาณาบริเวณนั้น ก็น่าจะเป็นทางออกที่ดี 

    พระพุทธประวัติ

    การศึกษา “พุทธประวัติ” จะทำให้ผู้อ่านได้ทราบถึงเรื่องราวขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าตั้งแต่อดีตชาติ จนถึงการเสด็จดับขันธปรินิพพาน และหลักในการดำเนินชีวิตที่น่าสนใจ ที่สามารถนำมาประยุกต์ใช้ในการดำเนินชีวิตได้อย่างมีความสุข

    ดวงเด่น นุเรมรัมย์ (18 กรกฎาคม 2546)
  • คำนำ

    วีถีการดำเนินชีวิตของพระศาสดาในแต่ละช่วงชีวิต จะเป็นตัวบ่มเพาะความคิดและปัญญาของพระศาสดา ที่นำไปสู่การแสวงหาสัจธรรมของชีวิต แล้วนำสัจธรรมที่ค้นพบเหล่านั้นมาเผยแผ่สู่มนุษยชาติ 

  • ภูมิหลังของชมพูทวีป

    ในสมัยโบราณ ประเทศอินเดีย ถูกเรียกว่า “ชมพูทวีป” โดยพลเมืองที่อาศัยอยู่ในชมพูทวีป มีอยู่ ๒ พวกด้วยกัน คือ พวกมิลักขะ และพวกอริยกะ 

  • ต้นกำเนิดราชวงศ์ของพระพุทธเจ้า

    ตามตำนานเล่าว่าพระเจ้าโอกกากราช ครองราชสมบัติในพระนครแห่งหนึ่ง ทรงมีพระราชบุตร ๔ พระองค์ พระราชบุตรี ๕ พระองค์ โดยทั้ง ๙ พระองค์นี้ล้วนประสูติจากพระมเหสีที่เป็นราชภคินีของพระองค์เอง 

  • ความเข้าใจเกี่ยวกับพระพุทธเจ้า

    หากเราได้ศึกษาคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนาแล้วจะพบว่า ก่อนหน้านี้มีพระพุทธเจ้าถึง ๒๗ องค์ ที่ทรงอุบัติขึ้นมาเพื่อโปรดสัตว์โลก และพระสมณะโคดมเป็นพระพุทธเจ้าองค์ที่ 28

  • อดีตชาติของพระพุทธเจ้า

    ย้อนกลับไปในอดีตชาติของพระสมณะโคตมะ (เจ้าชายสิทธัตถะ) ก่อนที่จะมาอุบัติเป็นพระพุทธเจ้านั้น ได้ทรงบำเพ็ญบารมีอยู่ในอดีตชาติ เรียกว่า “พระโพธิสัตว์” (แปลว่า ท่านผู้ที่จะได้ตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้า) 

  • ประสูติ

     เมื่อประสูติแล้ว ทรงดำเนินด้วยพระบาท ๗ ก้าว พร้อมกับเปล่งพระวาจาว่า “เราเป็นยอดของโลก เราเป็นใหญ่แห่งโลก เราเป็นผู้ประเสริฐแห่งโลก ความเกิดของเรานี้เป็นครั้งที่สุด บัดนี้ความเกิดอีกมิได้มี” 

  • ออกบวช

    ทรงอธิฐานเพศเป็นนักบวชที่ชายหาดริมฝั่งแม่น้ำเนรัญชรา ซึ่งการออกบวชครั้งนี้เรียกว่า “การเสด็จออกมหาภิเนษกรมณ์” แปลว่า “การเสด็จออกเพื่อคุณอันยิ่งใหญ่” 

  • ตรัสรู้

    การได้บรรลุญาณทั้งสามของพระมหาบุรุษนั้นเรียกว่า “ตรัสรู้พระสัมมาสัมโพธิญาณ” (หรือตรัสรู้ความเป็นพระพุทธเจ้า) ทรงรู้ธรรมพิเศษสมดังพระประสงค์ หลังจากที่ทรงบรรพชามา ๖ ปี 

  • ประกาศพระศาสนา

    เมื่อพระพุทธองค์ตรัสพระธรรมเทศนาอยู่ท่านโกญทัญญะก็ได้ธรรมจักษุ หรือดวงตาเห็นธรรมว่า “ยังกิญจิ สมุทยธัมมัง สัพพัญตัง นิโรธธัมมัง” แปลว่า “สิ่งใดสิ่งหนึ่งเกิดขึ้นเป็นธรรมดา สิ่งนั้นย่อมดับไปเป็นธรรมดา” 

  • ปรินิพพาน

    “ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย บัดนี้ เราขอเตือนพวกเธอว่าสังขารทั้งหลายมีความเสื่อมไปเป็นธรรมดา พวกเธอจงยังความไม่ประมาทให้ถึงพร้อมเถิด” ซึ่งปัจฉิมโอวาทนี้เป็นการสรุปพระโอวาททั้งปวงที่ประทานมาตลอด 45 พรรษา 

  • บรรณานุกรม

    บรรณานุกรมพุทธประวัติ

  •  

                                            
                                            
                                            
                                            
                                        

     

    วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา

    ในฐานะที่เราเป็นพุทธศาสนิกชน จึงควรทราบถึงความเป็นมาของวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาแต่ละวัน อีกทั้งควรทราบถึงแนวทางในการปฏิบัติตนที่ถูกต้องตามธรรมเนียมประเพณีของชาวไทยที่นับถือพระพุทธศาสนา ตลอดจนนำเอาวิธีปฏิบัติและคำสอนทางศาสนาที่สำคัญ ๆ ในวันเหล่านั้น มาใช้ในชีวิตประจำได้อย่างมีความสุข

    ดวงเด่น นุเรมรัมย์ (18 กรกฎาคม 2546)
  • คำนำ

    “วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา” เป็นวันที่กำหนดขึ้นมาภายหลังจากที่องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าได้ทรงดับขันธ์ปรินิพพาน โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อให้พุทธศาสนิกชนได้น้อมรำลึกถึงคุณของพระพุทธเจ้า พระธรรม และพระสงฆ์ 

  • วันวิสาขบูชา

    วันวิสาขบูชาเป็นวันที่พุทธศาสนิกชนทั้งหลายถือเอาความอัศจรรย์ ๓ ประการ ที่เกิดขึ้นกับพระพุทธเจ้า โดยเป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นต่างปี แต่พ้องวันกัน คือ วันขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๖

  • วันมาฆบูชา

    การมาชุมชุมของพระอรหันต์สาวกในครั้งนั้น พระพุทธเจ้าทรงเห็นเป็นนิมิตอันดี จึงได้เสด็จท่ามกลางพระสงฆ์ ๑,๒๕๐ รูปเหล่านั้น และได้ทรงแสดง “โอวาทปาติโมกข์” 

  • วันอาสาฬหบูชา

     วันอาสาฬหบูชานี้ถือเป็นวันคล้ายวันที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงปฐมเทศนา หรือเทศน์กัณฑ์แรก ที่มีชื่อว่า “ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร” โดยเป็นการแสดงพระธรรมเทศาสนาครั้งแรก เพื่อโปรดปัญจวัคคีย์ทั้ง 5

  • วันเข้าพรรษา

    การเข้าพรรษา คือ การที่พระภิกษุตั้งใจว่าจะอยู่ประจำ ณ วัดใดวันหนึ่ง ตลอดเวลา ๓ เดือนในฤดูฝน โดยไม่ไปค้างคืนที่แห่งอื่นในระหว่างนั้น ซึ่งพิธีเข้าพรรษานี้ถือเป็นศาสนพิธีสำหรับพระภิกษุโดยตรง 

  • วันออกพรรษา

    วันออกพรรษามีชื่อเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า “วันปวารณา หรือ วันมหาปวารณา” โดยในวันนี้พระภิกษุสงฆ์จะทำพิธีปวารณา หรือ “ปวารณากรรม”

  • วันอัฏฐมีบูชา

     วันอัฏฐมีบูชา เป็นวันที่ถือกันว่าตรงกับวันถวายพระเพลิงพระพุทธสรีระ (เผาศพพระพุทธเจ้า) วันนี้จึงเรียกว่า “วันอัฏฐมีบูชา” 

  • บรรณานุกรม

    บรรณานุกรมวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา

  •  

                                            
                                            
                                            
                                            
                                        

     

                                            
                                            
                                            
                                            
                                        

     

                                            
                                            
                                            
                                            
                                        

THAI CADET

“คอร์สเรียนออนไลน์เพื่อสอบเตรียมทหาร”

THAI CADETเป็นติวเตอร์ขนาดเล็กที่เน้นการสร้างผลงานทางวิชาการเพื่อสอบเตรียมทหาร (คอร์สเรียนออนไลน์, หนังสืออ่านสอบเตรียมทหาร, คลังข้อสอบ ฯลฯ) และเป็นที่ปรึกษาใจดีสำหรับนักเรียนเตรียมสอบเตรียมทหารทุกคน

สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 (ภาพถ่ายโรงเรียนเตรียมทหาร และนักเรียนเตรียมทหาร ภายในเว็บไซต์แห่งนี้ ห้ามคัดลอก หรือนำไปเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษร) 

เปิดให้บริการเว็บไซต์นับตั้งแต่วันที่ 9 กันยายน 2547

© 2547-2562. All Right Reserved by THAI CADET